เมืองแห่งศิลปะวัฒนธรรม

54. เทศกาลเชียงใหม่ ฉลองพหุวัฒนธรรม

เมืองแห่งศิลปะวัฒนธรรม

ปัจจุบัน เทศบาลนครเชียงใหม่เป็นเมืองที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสนา มีประชากรหลายกลุ่มที่นับถือศาสนาต่างๆ รวมถึงพุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู และความเชื่อท้องถิ่นต่างๆ ปัจจุบันเมืองนี้มีวัดและสถานที่ศักดิ์สิทธิ์มากมาย แต่การจัดกิจกรรมพหุศาสนายังไม่ค่อยได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจัง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะขาดการสร้างความเข้าใจและการยอมรับในความหลากหลายทางศาสนายังคงเป็นเรื่องที่ท้าทาย หลายครั้งที่ความแตกต่างทางศาสนาถูกมองข้ามและขาดการส่งเสริมอย่างเป็นระบบ ทำให้การเชื่อมต่อและความสามัคคีในชุมชนไม่แข็งแรงเท่าที่ควร เปลี่ยน เชียงใหม่ได้อะไร จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ : 7

54. เทศกาลเชียงใหม่ ฉลองพหุวัฒนธรรม Read More »

53. กองทุนวัฒนธรรมอนุรักษ์และต่อยอด “ของใหม่ก่อเอา ของเก่าก่อบ่ละ” สนับสนุนการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมล้านนาในรูปแบบใหม่

เมืองแห่งศิลปะวัฒนธรรม

ปัจจุบัน เชียงใหม่มีวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลายและมีคุณค่า แต่ยังขาดการสนับสนุนงบประมาณและการบริหารจัดการด้านศิลปะวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ การอนุรักษ์วัฒนธรรมล้านนามีข้อจำกัดในการพัฒนา เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณในการดำเนินโครงการเพื่ออนุรักษ์และต่อยอดศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น เปลี่ยน เชียงใหม่ได้อะไร จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ : 7

53. กองทุนวัฒนธรรมอนุรักษ์และต่อยอด “ของใหม่ก่อเอา ของเก่าก่อบ่ละ” สนับสนุนการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมล้านนาในรูปแบบใหม่ Read More »

52. เส้นทางท่องเที่ยวล้านนา สายมูผสมตำนานพื้นถิ่น สร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามความเชื่อและตำนานท้องถิ่น

เมืองแห่งศิลปะวัฒนธรรม

ปัจจุบัน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในล้านนา โดยเฉพาะการท่องเที่ยวสายทำบุญและสายมูเตลู (Spiritual Tourism) ได้รับความสนใจมากขึ้น เทศบาลนครเชียงใหม่มีวัดมากกว่า 70 แห่งที่มีประวัติศาสตร์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเคารพ แต่ยังไม่ได้รับการโปรโมตในเชิงการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ ตำนานพื้นบ้านล้านนา มักเป็นเรื่องเล่าที่ยังไม่ได้รับการบันทึก การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศรัทธาและตำนานพื้นบ้านจะช่วยเสริมสร้างเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในชุมชน เปลี่ยน เชียงใหม่ได้อะไร จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ : 8

52. เส้นทางท่องเที่ยวล้านนา สายมูผสมตำนานพื้นถิ่น สร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามความเชื่อและตำนานท้องถิ่น Read More »

51. พัฒนา 3 ย่านประวัติศาสตร์ สู่พื้นที่สาธารณะทางวัฒนธรรม

เมืองแห่งศิลปะวัฒนธรรม

ปัจจุบัน จังหวัดเชียงใหม่ เป็นเมืองที่มีศักยภาพสูงในการดึงดูดนักท่องเที่ยว เนื่องจากมีทุนวัฒนธรรมซึ่งกระจุกตัวอยู่ในเขตเมืองเก่า ทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนา ประเพณีวัฒนธรรมที่มีอัตลักษณ์ รวมไปความเป็นเมืองเก่าที่มีชีวิต (Living old city) ซึ่งปัจจุบันมีอัตราการขยายตัวของนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นประมาณ 30% (อ้างอิงจากสถิติสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศ รายจังหวัด ปี 2567 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา) แต่พบว่าหลายพื้นที่ในเขตเมืองเก่ากลับไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งในทางกายภาพ การเข้าถึง และการใช้ประโยชน์ ส่งผลให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของพื้นที่ถูกลบเลือนไป จากการศึกษาโครงการจัดทำแผนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเชียงใหม่เมืองท่องเที่ยววัฒนธรรม 4.0 โดยมูลนิธิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ (Public Policy Studies Institute Foundation: PPSI) พบว่ามี 3 ย่าน ในพื้นที่เมืองเก่า ได้แก่ ย่านประตูช้างเผือก ย่านแจ่งศรีภูมิ และย่านแจ่งกู่เฮือง ที่มีความเหมาะสมต่อการอนุรักษ์และพัฒนาเชิงสร้างสรรค์  สามารถปรับปรุงพื้นที่กายภาพให้เกิดเป็นพื้นที่สาธารณะทางสังคม นำทุนเดิมของพื้นที่มาสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยคนในชุมชน ก่อให้เกิดรายได้แก่ประชาชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน เปลี่ยน เทศบาลนครเชียงใหม่จะทำการปรับปรุงพื้นที่ 3 ย่านในเขตเมืองเก่าให้เกิดการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์อย่างมีประสิทธิภาพ โดย เชียงใหม่ได้อะไร จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ : 7

51. พัฒนา 3 ย่านประวัติศาสตร์ สู่พื้นที่สาธารณะทางวัฒนธรรม Read More »

Scroll to Top